// css // javascript

Bangkok Recorder - July, 1845


๏ หนังสือ จดหมาย เหตุ ๚ BANGKOK RECORDER

VOL 11.   เล่ม ๒. บังกอก เดือน แปด ปี มเสงสัพศก จุลศักราซ ๑๒๐๗. JULY, 1845. คริศศักราช ๑๘๔๕. ไป ๑๓ No 13.

หนังสือ จด หมาย เหตุ จะ ตี ภิม ใน วัน ประหัศ ตัน ทุก เดือน ๆ.

ตั้ง แต่ นี้ ต่อ ไป พวก หมอ ปฤกษา พรัอม ใจ กัน ว่า, หนังสือ จด หมาย เหตุ นี้, ถ้า แล พวก ไพ่ร ตอ้ง ประสงค์ ปราถนา จะ ได้ ก็ ให้ มา ซื้อ เอา, เรา จะ เอา ราคา ปี ละ สลึง เท่า นั้น. เรา เอา ราคา นอ้ย ถูก นัก เพราะ อยาก จะ ให้ คน ได้ มา รับ หนังสือ นั้ม มาก. แต่ ทว่า เรา ปราถนา จะ เอา เงิน สลึง เมื่อ ได้ รับ ใบ ที่ หนึ่ง กอ่น. ถัา ขุน นาง แล พระราชา คะณะ พระสงฆ์ ถานานุกรม จะ ตอ้ง ประสงค์ แล้ว, พวก หมอ ไม่ ได้ เอา ราคา เลย จง มา รับ เอา เถิด.

ลังกาทวีป. Ceylon.

ที่ นี้ จะ ว่า ถึง เกาะ เมือง ลังกาทวิป ๆ นั้น, เปน เกาะ ใหญ่ มี สัน ถาน รูป ตั่ง รูป ไข่ ไก่, เกาะ นั้น ยาว ประมาณ ๒๗ โยชน์, ถ้า วัด ใน ที่ ท่ำ กลาง เกาะ นั้น โดย กว้าง ประมาณ ๑๐โยชน์. เกาะ ลังกา นั้น อยู่ ข้าง ทิศ ใต้ แผ่น ดิน ฮินดูสถาน นอ่ย หนึ่ง, แล ใน ที่ ระหว่าง เกาะ ลังกา กับ แผ่น ดิน ฮินดูสถาน นั้น, ช่อง นั้น กว้าง ประมาณ​ ๖ โยสน์, แต่ หว่า เดี๋ยว นี้ มี น้ำ ตึ้น นัก กำปั่น จะ ไป มิ ได้. ใน เกาะ ลังกา นั้น มี ภูเขา สอง แถว, แถว หนึ่ง เรียก ว่า เขา พระบาท, สูง ประมาณ ๙๔๖ วา, เขา นั้น สูง กว่า เขา ทั้ง ปวง ที่ มี อยู่ ใน เกาะ ลังกา. ยัง ภู เชา เลก นอ้ย ก็ มี มาก. ใน เกาะ นั้น มี่ แม่ น้ำ อัน หนึ่ง ซึ่อ มหากันช รา, แม่ น้ำ นั้น ไม่ สู้ ใหญ่ นัก, ภอ เรือ เข้า ไป ถึง เมือง-กันเด ได้, กำปั่น ลำ ใหญ่ ๆ แต่ ไป มิ ใด้, แต่ ทว่า แม่ น้ำ นั้น ใหญ่ กว่า แม่ น้ำ ทั้ง ป่วง ใน เกาะ นั้โ ะ นัน. ยัง มี แม่น้าเลกน อัย อีก หลาย แห่ง. มี เมือง สาม สี่ หวัว เมือง อยู่ ริม ชาย ซะเล, เปน ที่ จอค กำปั่น บ้าง, คือ เมือง โก ลำโบ เปน ตัน, เดี้ยว นี้ เจ้า เมือง ลังกา ได้ อาไศรย อยู่ ใน หวัว เมือง นั้น. ช้าง ทิศ ได้ เมือง โกลำโบ นอ่ย หนึ่ง, มี เมือง ชื่อ กาลี, เมือง นั้น มี ท่า จอด กำปั่น บ้าง. อีก เมือง หนึ่ง ซื่อ ตรินกมอาลี, ตั้ง อยู่ ที่ ปาก น้ำ มหา กัน ชรา นั้น. เมือง นั้น มี ท่า จอด กำปั่น อยู่ บ้าง, ใน เกาะ ลังกา นั้น มี ดิน อุดม ดี นัก ชอบ ปลูก ตัน ไม้ ต่าง ๆ, แล ชาว เมือง ลังกา นั้น, เมื่อ เคิม เซา เปน ลูก หลาน ขาว เมือง สิงหน, ใน เมือง อื่น ๆ เรียก ว่า เมือง ราชพุทธ์ บ้าง, เรียก ว่า สิงหะละ บ้าง. เมือง ราชพุทธ์ นั้น อยู่ ต่อ ทิศ ข้าง เหนือ แต่ง แผ่นดิน ฮินดูสถาน. แต่ บูราณ เขา เรียก ซื่อ เมือง หลวง ที่ กระษัตร ลังกา อาไศรย อยู่ นั้น ชึ่อ ว่า อะโนราขา ปูระ. เมื่อ จุลศักราช ๘๘๐ ปี, มี พวก โพธิเก์ต มา อาไศรย อยู่ ใน เกาะ ลังกา นั้น, คั้ง ปอ้ม ไว้ ที่ เมือง โกลำโบ แล เมือง กาลี, คิด จะ เอา เมือง ใน เกาะ ลังกำ นั้น. เมื่อ จุลศักราช ๙๙๔ ปี, มี พวก อาละมาน มา ใน กำปั่น รบ มา ช่วย กระษัตร กัน เจ้า เมือง ลังกา, ไล่ พวก โพธิเก๊ด เสีย. เมื่อ อยู่ อีก หลาย ปี, พวก อาละมาน ได้ ซ่ม เหง ลัง ลังกา นัก, ได้ รบ กัน เนือง ๆ. เมื่อ จุลศักราซ์ ๑๑๕๘ ปี เจ้า เมือง ลังกา ได้ เชิญ พวก อังกฤษ ให้ มา ช่วย, พวก อังกฤษ ก็ ไล่ พวก อาละมาน เสีย หมด. ครั้น อยู่ มา อีก สอง ปี, เมือง กำเด มี กระษัตร ครอง สมบัติ ใหม่, กระษัตร นั้น ไม่ ชอบ กับ พวก อังกฤษ, ก็ ได้ ทำ สงคราม กับ พวก อังกฤษ เมือง ๆ. ครั้น จุลศักราช ๑๑๖๕ ปี, พวก อังกฤษ ก็ ยกเข้า ดี เมือง กันเด ได้. แต่ หว่า อังกฤษ ได้ ยอม ให้ กระษัตร นั้น ครอง สมบัติ ใน เมือง นั้น ต่อ ไป. ควั้น จุลศักราช ๑๑๘๑ ปี ใน ปี นั้น, กาะษัตร นั้น กระทำ การ สามก นัก, ได้ เอา ลูก ขุน นาง ผู้ ใหญ่ ใส่ ครก โคลก ตำ เสีย ให้ ตาย. เหตุ ดั่ง นั้น ขุน นาง ใหญ่ อัย ทั้ง ปวง, จึ่ง เซิญ พวก อังกฤษ ให้ มา ซิง เอา สมบัติ นั้น เสีย. เมือง นั้น อังกฤษ ก็ ได้ ครอบ ครอง จน ถึง ทุก วัน นี้. จําเดิม แต่ นั้น มา แว่น แค วัน เมือง ลังกา ก็ อยู่ ใน อำนาถ อังกฤษ สิ้น. ตั้ง แค่ ปี เดิม พวก อังกฤษ ได้ เมือง ลังกา นั้น จน ถึง ปี นี้ นับ ได้ ๒๖ ปี.

ใน ปี เถาะ เยญศก เดือน สิบ, เจ้า เมือง ลังกา ได้ ให้ คน ทำ บาล ชี นับ คน ใน เกาะ เมือง ลังกา นั้น ทั้ง หมด, ได้ คน ๑๔๔๒๐๖๒ คน ทั้ง เดก แล ผู้ ใหญ่, ทั้ง แต่ เมือง ลังกา ขึ้น แก่ อังกฤษ มา จน ถึง ทุก วัน นี้, เจ้า เมือง ได้ ปลูก โรง ๕๔ โรง สำหรับ เดก เรียน ภาษา อังกฤษ บ้าง. แล้ว เจ้า เมือง ได้ จ้าง คร ให้ สั่ง สอน ใน โรง นั้น. เจ้า เมือง ใด้ ให้ เงิน แก่ ครุ ทุก ปี ๆ, แล เดก ๆ นั้น ได้ ให้ เงิน แก่ กรู หนิด นอ่ย ทุก เดือน บ้าง. เดก ที่ ไป เรียน นั้น นับ ได้ ๓๘๑๘ คน. แล เจ้า เมือง ได้ ยอม ให้ พวก อังกฤษ ที่ ได้ ถือ สาศนา พระเยซู นั้น ปลูก โรง สำหรับ สัง สอน เดก ๆ ๖๒๙ โรง, เดก ทั้ง หญิง ชาย ที่ ได้ มา เรียน ใน โรง ทั้ง นั้น นับ ได้ ๙๘๖๙ คน. อนึ่ง เจ้า เมือง ยอม ให้ พวก อเมริกา ปลูก โรง ๘๖ โรง, สำหรับ ลั่ง สอน สาศนา พระเยซู อยู่ ใน เมือง ลังกา นั้น, เดก ทั้ง หญิง ทั้ง ชาย ไป เงี่ยน ใน โรง พวก อเมริกา นั้น, นับ ได้ ๔๐๐๗ คน. ถ้า จะ นับ โรง ทั้ง สาม จำนวน เข้า ดวัย กัน ได้ ๗๖๙ โรง, ถ้า จะ นับ เดก ที่ เรียน ทั้ง สาม จำนวน นั้น ได้ ๒๑๖๙ คน. เพราะ เหตุ อย่าง นั้น พวก เดก แล พ่อ แม่ เดก นั้น ได้ นับ ถือ สาศนา พระเยซู เปน หลาย พัน คน, เจ้า เมือง ลังกา ยอม ให้ คน ถือ สาศนา ตาม แต่ ใจ ฃอง ตน. อนึ่ง บาต หลวง ๒๔ คน เปน ครู ลั่ง สอน ตาม สาศนา ฃอง ตน ใน เมือง ลังกา นั้น, เขา ได้ มี สิษ หลาย คน. ที่ ว่า มา ดว้ย เกาะ ลังกา นี้, ข้าพเจ้า ได้ แปล ออก จาก หนังลือ ประนิน ทิน ที่ เชา ได้ ตีภิม ใน เมือง โกลำ โบ ใน เกาะ ลังกา นั้น ฝาก เข้า มา ปี นี้. Ceylon Almanac 1845.

กำปั่น ค้า ขาย ใน ทวีป ยูรบ. Commercial navies of europe.

ที่ นี้ จะ ว่า ดว้ย กำปั่น ใหญ่ ที่ บันทุก สิน ค้า เที่ยว ค้า ขาย ใน ทวีป ยูรบ นั้น, แต่ กำปั่น ค้า ขาย ใน เมือง องกฤษ นั้น มึ อยู่ ๒๓๑๕๒ ลำ. ใน เบื้อง ฝรั่งเสศ มี ๑๓๘๔๕ ลำ. ใน เมือง รู ซามี ๒๔๒ ลำ. ใน เมือง อาละมาน มี ๖๑๙๙ ลำ. ใน เมือง ปรูซา มี ๘๓๕ ลำ. ใน เมือง หา โนเวร มี ๕๔๕ ลำ, ใน เมือง เมกเลนบูระ มี ๓๒๗ ลำ. ใน เมือง หัม บูระ มี ๒๓๗ ลำ. ใน เมือง ลูเบก มี ๗๑ สำ. ใน เมือง บริเม๊น มี ๒๑๕ ลำ. ใน เมือง วิลันดา มี ๑๑๖๙ ลำ. ใน เมือง เบลเชียม มี ๒๘๙ ลำ. ใน เมือง ซะเวเดน มี ๕๔๕ ลำ. ใน เมือง เดนมรัก มี ๓๐๓๖ ลำ. ใน เมือง ซะแปน มี ๒๗๐๐ ลำ. ใน เมือง โพธิเก๊ด มี ๗๙๘ ลำ. ใน เมือง ซาระดิ เนีย มี ๓๕๒๒ ลำ. ใน เมือง โรม มี ๙๕๐ ลำ. ใน เมือง ซีซิลี มี ๙๑๗๕ ลำ. ใน เมือง ลกา มี ๑๘๓ ลำ. ใน เมือง ทุซะกานี มี ๗๗๔ ลำ. ใน หมู่ เกาะ อายโอเนีย มี ๒๑๘๓ ลำ. ใน เมีอง เฮเลน มี ๓๑๖๙ ลำ. ใน เมือง ตุระเกมี ๒๒๐ ลำ. ทั่ว ทุก ประเทษ ใน หวีป ยูรบ นั้น เข้า กัน นับ ได้ กำปั่น ๗๙๒๗๒ ลำ, แต่ หว่า กำปั่น รบ แล กำปั่น ไฟ แล กำปั่น เลก ๆ ที่ ค้า ขาย ใน แม่ น้ำ แล ใน คลอง เลก นอ้ย. นั้น มิ ได้ นับ, แล มิ ได้ นับ กำปั่น ใน เมือง ที่ ขึ้น แก่ อังกฤษ นั้น. ถ้า จะ นับ กำปั่น ทั้ง ใหญ่ แล นอ้ย ใน ทวีป ยูรบ นั้น มาก กว่า มาก นัก.

ที่ นี้ จะ ว่า ดว้ย กำปั่น ใน เมือง อเมริกา ๆ นั้น. มี กำปั่น ใหญ่ ขาย ฃอง ประมาณ ๑๘๐๗๓ ลำ, อีก กำปั่น ไฟ ไป เที่ยว ขาย ฃอง ใน แม่ น้ำ ประมาณ ๘๐๐ ลำ, ยัง กำปั่น เลก นอ้ย มิ ได้ นับ Friends of india.

News,

อนึ่ง มี ข่าว มา แต่ เมือง จีน ว่า, พวก จีน แล พวพ ฝรั่งเสศ แล พวก อังคฤษ, ที่ อาไศรย ใน เมือง จีน นั้น, เปน ปรกติ ดี ไม่ มี เหตุ สิ่ง ใด สิ่ง หนึ่ง สงบ ดี อยู่ หมด, แล กำปั่น พวก อังกฤษ กับ ทั้ง พวก อเมริ กา แล พวก ฝรั่งเสศ, ได้ ขาย ฃอง เปน ปรกติ ดี ใน เมือง ทั้ง ปวง ที่ ได้ ทํา สัญา กัน ใน ราชสาร. อนึ่ง นาย ทับ เรือ พวก อังกฤษ ว่า มิ ได้ มี ธุระ สิ่ง ใด ใน เมือง จีน, นาย ทับ จึ่ง คุม กำปั่น หลาย ลำ ที่ ตก ค้าง อยู่ เมือง กวางตุ้ง, เพื่อ จะ กลับ ไป เมื่อง บังกลา. นาย ทับ นั้น จึ่ง คุม กำปั่น นั้น มา พัก อาไศรย อยู่ ที่ เมือง ใหม่ ประมาณ สอง สาม วัน, แล้ว ก็ ไป อาไศรย อยู่ ที่ เกาะ หมาก, เพื่อ จะ หา สเบียง อาหาร บ้าง, แล เพื่อ จะ ให้ คน เจบ ทาย โรค บ้าง.

อนึ่ง ใน ปี มเสง เดือน หก มี กำปั่น รบ พวก ฝรั่งเสศ สอง ลำ, มี ทูต ถือ ราชสาร จะ ไป เมือง มะนีลา แล เมือง จีน, เขา ได้ พัก อยู่ ที่ เมือง ใหม่ บ้าง. ครั้น เคือย หก แรม แปด ค่ำ เขา ก็ ออก จาก เมือง ใหม่ ไป, เมื่อ ราชทูต แวะ อยู่ ที่ เมือง ใหม่ นั้น เจ้า เมือง ใหม่ ได้ เชิญ ราชทูต กิน โตะ ดว้ย กัน.

อนึ่ง มี ข่าว มา แต่ แต่ เมือง อังกฤษ ว่า, ใน ปี มโรง เดือน สิบ, กระ นัตร ฝรั่งเสศ กับ ขุน นาง ใหญ่ หลาย คน ไป ใน กำปั่น ไฟ, ไป เยียน กระษัตร อังกฤษ ๆ, ก็ ตอ้น รับ โดย ทาง พระราช ไม้ตรี. กระษัตร ฝ รั่งเสศ ก็ ยับ ยัง อยู่ สบาย หลาย วัน ก็ กลับ ไป เมือง.

ที่ นี้ จะ ว่า ดว้ย กำปั่น ที่ ค้า ขาย แวะ เข้า อยู่ เมือง ใหม่, เมื่อ ปี กลาย นี้ เขา ได้ บาลซี ไว้ ๗๔๔ ลำ กำปั่น รบ ไม่ ได้ นับ. อนึ่ง สำเภา จีน แล สำเภา แฃก แล สำเภา ยวน แวะ เข้า เมืองใหม่ นั้น เชา จด บาลซี ไว้ ๒๔๐๔ ลำ.

อนึ่ง มี ข่าว ว่า กระษัตร อังกฤษ ได้ สร้าง กำปั่น ไฟ อีก ลี่ ลำ, ลำ หนึ่ง กระทำ ดว้ย เหลก สิ้น ทั้ง ลำ, แต่ ทว่า กำปั่น ไฟ นั้น เขา ไม่ ได้ ทำ จักร์ ไว้ ข้าง เรือ เหมือน กำปั่น ไฟ ที่ มา เมือง นี้, เขา ทำ จักร์ ไว้ ใด้ ทอ้ง เรือ จักร์ เดียว เท่า นั้น คน จะ เหน จักร์ มิ ได้, เพราะ จักร์ นั้น จม อยู่ ใน น้ำ แล อยู่ ใน ใด้ ทอ้ง กำปั่น แต่ ทว่า กำปั่น นั้น เดิน เรว กว่า กำปั่น ไฟ ที่ ทำ แต่ กอ่น.

Successful Operation for Strangulated Inguinal Hernia on a Surat merchant. By D. B. B.

ใน เดือน ๕ ปี มเสง, ข้าพเจ้า หมอ บรัดเล ได้ รัษา ใส้ เลื่อน คน หนึ่ง, เปน เสมียน ฃอง บาย กูด่า. เปน ใส้ เลื่อน มา นาน แล้ว. เมื่อ คน นั้น นอน แล้ว, ใส้ นั้น ก็ กลับ ขึ้น มา เอง เปน ธรรมดา. ภาย หลัง ทำ การ หนัก ก็ กลับ ขึ้น ไม่ ได้, โต บวม ขึ้ ปวด นัก, ให้ ราก ไม่ ออก. ข้าพเจ้า ก็ ให้ กิน ยา, แล ทำ ทลาย สิ่ง หลาย ประการ ก็ ไม่ ขึ้น ได้. ข้าพเจ้า ก็ เหน ว่า, คน นั้น ออ่น หิว นัก. แล เหน ว่า ใส้ นั้น เกือบ จะ เปื่อย เน่า แล้ว. ถ้า ไม่ ให้ ขึ้น ให้ ได้ เรว, เหน จะ ไม่ รอด. โรค ใส้ เลื่อน นี้ เปน เพราะ มี รู เข้า ไป ตาม ทอ้ง ทั้ง สอง ข้าง, ที่ ตรง เอน ลูก คัน ธะ ออก จาก ทอ้ง. ถ้า รู เปน ปรกติ ดี แล้ว ใส้ นั้น ก็ จะ ออก ไม่ ได้. ถ้า ไม่ เปน ปรกติ แล้ว, รู นั้น ก็ เบิก กว้าง ออก, ให้ ใส้ นั้น อยั่ง ลง ไป ตาม เอน ลูก คัน ธะ. ถึง เปน เช่น นั้น, ถ้า รู นั้น เบิก กว้าง อยู่ ก็ ไม่ สบาย แต่ ไม่ เจบ นัก. ถ้า ใส้ นั้น อยั่ง ยอ้ย ลง มา อยู่ ตาม รู เอน คัน ธะ นั้น มิ ได้ กลับ, ถ้า รู นั้น รัด เข้า เลก เข้า ดว้ย เหตุ ใน เหตุ หนึ่ง แล้ว, ก็ จะ กระทำ ให้ เจบ มาก ขึ้น ไป, ดว้ย เลือด แล ลม แล อุจาระ นั้น มัน คั่ง อยู่, มัน เดิน ตลอด ถึง กัน ไม่ ได้. เหมือน กับ เรา จะ เอา ป่าน แล เชื่อก ต่าง ๆ ผูก ซึ่ง ฅ่อ มือ รัด ไว้ ให้ ตึง, ไม่ ให้ เลือด ลม เดิน ถึง กัน ได้, มือ นั้น ก็ จะ ปวด นัก. ถ้า ไม่ แก้ เสีย รัด ไว้ เช่น นั้น, ไม่ ช้า ไม่ นาน มือ นั้น ก็ จะ เปื่อย ภัง ไป. ข้าพเจ้า เหน ว่า เสมียน คน นั้น กิน ยา แล ทำ สิ่ง ต่าง ๆ, ใส้ นั้น ก็ กลับ ขึ้น มา ไม่ ได้, เกือบ จะ ถึง แก่ ชีวิตร แล้ว, จึ่ง ยอม ให้ ข้าพเจ้า ผ่า ที่ รู ที่ รัด ใส้ นั้น, จะ ให้ ใส้ คืน กลับ ขึ้น ไป ได้. ข้าพเจ้า จึ่ง ผ่า ลง ที่ ทอ้ง นอ้ย ข้าง ฃวา ที่ ใด้ รู ตรง ใส้ ออก นั้น ประมาณ ศัก สอง นิ้ว, ค่อย ๆ ผ่า ลง ไป ให้ ถึง ลำ ใส้, แต่ ว่า ไม่ ให้ ถูก ลำ ใส้ ได้. ถ้า ถูก ลำ ใส้ ทะลุ แล้ว, ก็ จะ ถึง แก่ ความ ตาย. เมื่อ เหน ลำ ใส้ เปน แน่ แล้ว, จึ่ง เอา นี้ว มือ ยอม เข้า ไป ตาม ลำ ใส้ นั้น จน ถึง รู ที่ ใส้ ออก, คลำ ดู เหน รู รัด ซึ่ง ใส้ ตึง นัก, จึ่ง เอา มีด เลก ๆ อย่าง หนึ่ง เสือก ขึ้น ไป ตาม นิ้ว มือ, จน ถึง ที่ รัด ใส้ นั้น, จึ่ง เอา ปลาย มีด สกิด ฃอบ รู ที่ รัด ตึง นั้น ให้ ขาต ออก ไป. แล้ว จึ่ง เอา นิ้ง มือ เสือก เช้า ดู ตาม รู นั้น, เหน ว่า นิ้ว ว่า มือ เข้า ได้ แล้ว, จึ่ง เอา มือ แล มีด ออก มา แล้ว เอา มือ ประคอง บีบ กด ที่ บวม นั้น, ให้ ใส้ กลับ เข้า ไป สู่ ที่. แล้ว ก็ หาย ปวด สบาย ใน ขณะ นั้น. ภาย หลัง จึ่ง เย๊บ แผล ที่ ผ่า ข้าง นอก นั้น เสีย แล้ว, จึ่ง เอา ยา เหนียว ทา ผ้า ปิด ไว้. ห้า วัน หก วัน แผล นั้น ก็ หาย ดี. เดี๋ยว นี้ คน นั้น สบาย เปน ปรกติ ดี.

Facts showing the Benefits of Vaccination.

ข้าพเจ้า หมอ บรัดเล จัก สำแดง ชาว ซึ่ง ปลูก ฝีโค ที่ เมือง อื่น ๆ ต่าง ประเทษ, ภอ ให้ รู้ เหน เปน พญาณ, ประสงษ์ จะ ให้ คน ทั้ง ปวง สิ้น สง ไสย. ที่ เมือง มา เซน เปน หวัว เมือง ขึ้น ฝรั่งเสศ นั้น, คน ใน เมือง มา เซล นั้น ประมาณ ได้ สี่ หมื่น คน. แต่ คน สี่ หมื่น นั้น, ได้ ปลูก ฝีโค กัน ฝีดาษ นั้น, สาม หมื่น, ยัง เหลือ คน อยู่ อีก หมื่น หนึ่ง แต่ คน หมื่น หนึ่ง นั้น, ที่ ออก ฝีดาษ ตาม ธรรมดา นั้น สอง พัน คน. ที่ ยัง หา ได้ ปลูก ฝี ไม่ นั้น เหลือ อยู่ แปด พัน คน. ข้าพเจ้า นับ ตั้ง แต่ ปี มเสง สัพศก นี้ ถอย หลัง ลง ไป ได้ ๑๗​ปี แล้ว, คน ใน เมือง มา เซล นั้น, ก็ บังเกิด โรค ธรพศม์ เปน ฝีดาษ ขึ้ ใหม่ อีก ครั้ง หนึ่ง. คน สาม หมื่น ที่ ได้ ปลูก ฝีโค ครั้ง กอ่น นั้น, ได้ ออก อีสุดอีไส สอง พัน คน. ที่ มิ ได้ ออก อีสุกอีไส สอง หมื่น แปด พัน คน. แต่ คน ที่ เปน โรค อีสุกอี ไส สอง หมื่น คน นั้น, ถึง แก่ กรรม ตาย ยี่ สิบ คน. อนึ่ง คน สอง พัน ที่ ออก ฝีดาษ เอง ตาม ธรรมดา นั้น, ได้ เปน อีสุกอี ไส รอ้ย คน, แต่ ถึง แก่ กรรม ตาย นั้น ยี่ สิบ คน. แต่ คน แปด พัน คน ที่ ยัง หา ได้ ปลูก ฝีโค, แล ยัง หา ได้ ออก ฝีดาษ ไม่ นั้น, ก็ ออก ฝีดาษ สี่ พัน คน, แต่ ตาย นั้น สอง พัน คน. จึ่ง ว่า คน ใน แปด พัน คน ที่ ยัง หา ได้ ปลูก ฝีโค ไม่ นั้น, ตาย ส่วน หนึ่ง, แต่ ยัง เหลือ อยู่ นั้น ๓ ส่วน. แล สอง พัน คน ที่ เปน ฝีดาษ เอง โดย ธรรมดา แต่ กอ่น นั้น, แล้ว ออก อีสุกอีไส นั้น, ตาย ส่วน หนึ่ง, แต่ ยัง เหนือ อยู่ สี่ รอ้ย ส่วน. แล สาม หมื่น คน ที่ ได้ ปลูก ฝีโค แต่ กอ่น นั้น, แล้ว ออก อีสุกอีไส นั้น, ตาย ส่วน หนึ่ง, เหลือ อยู่ พัน สี่ รอ้ย ส่วน เท่า นั้น.

อนึ่ง มี หนังสือ ข่าว มา ตาม จด หมาย เหตุ อังกฤษ ว่า, เมื่อ คริศศัก ราช ได้ พัน เจด รอ้ย เก้า สิบ ห้า ปี แล้ว, ใน ประเทษ เมือง อังกฤษ ครั้ง นั้น, ราษฎร ชาว เมือง นับ ประมาณ ได้ สิบ ห้า ล้าน คน, แต่ พวก หมอ อังกฤษ ทั้ง ปวง ยัง หา ได้ เรียน รู้ ตำรา ปลูก ฝีโค กัน ฝีดาษ ไม่. ใน ปี เกาะ คือ ๔๐ ปี สวง มา แล้ว, ราษฎร ชาว เมือง อังกฤษ เปน โรค ธรพิศม์ มาก. แต่ ราษฎร พวก อังกฤษ ถึง แก่ กรรม ตาย ใน ปี เดียว นั้น, มี บาลชีย์ นับ ได้ ถึง สาม หมื่น หก พัน คน. ตั้ง แต่ พระแพท หมอ อังกฤษ ได้ เรียน รู้ ตำรา ปลูก ฝีโค กัน ฝีดาษ ได้ แล้ว นั้น, ประมาณ ได้ ๔๐ ปี แล้ว, ราษฎร ชาว เมือง อังกฤษ เปน โรค ธรพิศม์ ถึง แก่ กรรม ตาย เพราะ ฝี ดาษ นั้น, ปี ละ สาม รอ้ย สี่ รอ้ย เท่า นั้น, เหตุ ว่า คน เหล่า นะเน ยัง หา ได้ ปลูก ฝี โค ให้ กัน ผีกาษ ไม่, จึ่ง ถึง แก่ กรรม ตาย. ถ้า ได้ ปลูก เสีย ทุก คน แล้ว, ฝี ดาษ ก็ จะ ไม่ มี เชื้อ ต่อ ไป เลย.

อนึ่ง ใน ประเทษ เมือง ฝรั่งเสศ, แต่ บันดา พวก หมอ ที่ ได้ ปลูก ฝี โค กัน ฝีดาษ นั้น, ได้ จด หมาย เอา บาล ซีย์ ไว้, เปน ทำเนียม มา ดั่ง นี้ ทุก คน. ใน คริศศักราช พัน แปด รอ้ย สิบ สาม ปี, เปน สาม สิบ สอง ปี ล่วง มา แล้ว, ใน ปี นั้น, หมอ ที่ ประเทษ เมือง ฝรั่งเสศ, ได้ ปลูก ฝี โค ให้ กัน ฝีดาษ แก่ ขาว เมือง นั้น, ได้ ถึง สอง ล้าน หก แสน เจด หมื่น พัน หก รอ้ย หก สิบ สอง คน. ตั่ง แต่ ปลูก แล้ว มา พวก หมอ คอ่ย พิจารนา ดู อยู่ ถึง ๓๒ ปี, แต่ บันดา คน ที่ ปลูก ฝี โค สอง ล้าน หก แสน เจด หนื่น พัน หก รอ้ย หก สิบ สอง คน นั้น, ได้ เหน เปน ฝีดาย ขึ้น แต่ ๗ คน เท่า นั้น, นอก กว่า นั้น ไม่ เปน เลย. ใน สาม แสน แปด หมื่น พัน หก รอ้ย หก สิบ เจด คน เปน ฝีดาษ แต่ คน เดียว เท่า นั้น.

อนึ่ง ใน เมือง อังกฤษ นั้น, มี โรง ใหญ่ ไว้ สำหรับ ปลุก ฝี โค, ตั้ง ขึ้น เมื่อ คริศศักราช ๑๘๐๙ ปี. เขา ปลูก ฝี ขาว อังกฤษ ๘ ปี, ได้ ๓๔๓๖๙ คน. คน ที่ ปลูก แล้ว ปน อยู่ ดว้ย คน ที่ เปน ฝีดาษ, ก็ เปน ฝี โาษ ขึ้น แต่ ๔ คน เท่า นั้น. ใน ๘๕๙๒ คน ที่ ปลูก ฝี โด แล้ว ก็ ออก ฝี้ดาษ คน เดียว. ถึง คน ที่ ออก ฝีดาษ ก็ ขึ้น งาม นัก ไม่ ร้าย เลย.

อนึ่ง ใน เมือง โฮละซะธิน ประเทษ เญอเมนิ, หมอ ปลูก ฝี โค ใน ๒๑ ปี, ได้ สอง แสน สาม หมื่น สี่ พัน เก้า รอ้ย ห้า สิบ เก้า คน. ภาย หลัง ๑๕ ปี คน ที่ ปลูก นั้น เปน ฝีดาษ ขึ้น แต่ ๒ คน เท่า นั้น. แล ประ เทษ เด๊น มาก นั้น, หมอ ปลูก ฝี โค ใน ๒๑ ปี, ได้ สี่ แสน สี่ หมื่น เจด พัน หก รอ้ย ห้า คน. ภาย หลัง มา ได้ ๑๕ ปี เปน ฝี ผู้ดาษ แต่ คน เดียว เท่า นั้น.

อนึ่ง ที่ เมือง ลัน กัน ประเทษ อังกฤษ, หมอ ปลูก ฝี โค ได้ หมื่น พัน แปด รอ้ย, แบ่ง ออก ๒๕๐๐ คน, แล้ว เฮา หนอง ฝีดาษ มา ปลูก ลอง คู ว่า, ฝี โค จะ กัน ฝีดาษ ได้ หฤา ไม่. ปลูก ก็ ไม่ เปน ฝีดาษ เลย ศัก คน เดียว.

อนึ่ง ใน เมือง นิว ยอก ประเทษ อเมริกา, ใน คริศศักราซ ๑๘๑๖ ปี, คน ตาย ใน เมือง นั้น ดว้ย ฝีดาษ ๑๗๙ คน. ภาย หลัง หมอ ที่ เมือง นั้น, ได้ ปลูก ฝี โค กัน ฝีดาษ แล้ว, ใน คริศศักราซ ๑๘๑๗ ปี คน ตาย ใน เมือง นั้น ดว้ย ฝีดาษ, มี มี แต่ ๑๔ คน. แล ใน คริศศักราช ๑๘๑๘ ปี. คน ที่ ดาย ดว้ย ฝีดาษ มี แต่ ๑๒ คน. แล ใน คริศศักราช ๑๘๑๙ ปี, แล ๑๘๒๐, แล ๑๘๒๑, แล ๑๘๒๒, แลใน ๔ ปี นั้น ไม่ มี คน ตาย ดว้ย ฝีดาษ เลย, เพราะ หมอ อุษ่าห์ ปสูก ฝี โค กัน ผี้ ดาษ, ฝี จึ่ง ไม่ มี เชื้อ. ถ้า ใน กรุง ศรีอยุทธยา นี้, มี โรง ปลูก ฝีโค, แล มี่ กฎหมาย ประกาษ ให้ คน ทั้ง ปวง ไป ปลูก, ก็ เหน ว่า จะ ไม่ มี เชื้อฝีดาษ ใน เมือง นี้ เหมือน กัน.

ข้าพเจ้า หมอ บรัดเล ได้ ปลูก ฝีโค ใน เมื่อง บังกอก, ใน ปี มโรง นั้น, ขึ้น ดี ได้ ๑๑๘๕ คน. ๆ ที่ ปลูก นั้น, ก็ เหน ว่า คอ่ย ดับ เชื้อ ฝี คาษ ลง นอ่ย หนึ่ง. ครั้น ถึง เดือน ๔ แรม สาม ค่ำ ปี มโรงฉ้อศก, พัน ฝีโค ช้าพเจ้า ก็ เสีย ขาด ไป, จึ่ง หก ได้ ปลูก ไม่. ควั้น มา ณะ วัน เตื่อน หก ปี มเสงสัพศก, ช้าพเจ้า ได้ เสก๊ด พัน ฝีโค มา ใหม่ แต่ เมือง อเมริกา อีก ครัง หนึ่ง, แต่ ยัง หา ได้ เอา ออก ปลูก ไม่, ดว้ย ธุระ ข้าพเจ้า มี มาก ยัง หา เปล่า ไม่. ภอ ให้ ธุระ ช้าพเจ้า เบา บาง ลง ศัก นอ่ย หนึ่ง, ช้าพเจ้า จึ่ง จะ ลง มือ ปลูก ต่อ ไป อีก ตาม สติ กำลัง ช้าพ เจ้า, ดว้ย มี จิตร ปราถนา จะ ให้ เปน ประโยชณ์ แก่ ทารก ทั้ง ปวง ใน เมือง นี้.

Case of tapping for dropsy twice within 8 days, 56

pounds of water withdrawn. by D. B. B.

ลำดัพ นี้ ข้าพเจ้า หมอ บรัดเล จะ สำแดง ขึ่ง ลักษณ์ แห่ง โรค ทอ้ง มาน น้ำ โดย สังเขป, ประสงษ์ เพื่อ จะ ให้ เหน เปน ตัว อย่าง. มี จีน คน หนึ่ง เป่น โรค ทอ้ง มาน น้ำ, มา ให้ ข้าพเจ้า รักษา ที่ แพ สำหรับ รักษา คน โรค ทั้ง ปวง. แล จีน นั้น มี อาการ ให้ ทอ้ง แล ขา ทั้ง สอง แล แฃน ทั้ง สอง ให้ บวม เปล่ง ขึ้น นัก, เมื่อ เอา มือ กค ลง เนื้อ นั้น, ก็ ยุบ ลง ปู้ ไป, เพราะ นัา ฃัง อยู่ ใน หอ้ง พั้ง ผืด, เหมือน กับ รวง ผึ้ง. แล น้ำ นี้ บังเกิด แต่ โลหิต, เพราะ พั้ง ผืด ไม่ ปรกติ. แล น้ำใน ทอ้ง ก็ ดี, ขา ก็ ดี, แฃน ก็ ดี, หา ได้ ซืม ทราบ ออก จาก ลำ ใส้ ไม่, บังเกิด จาก พั้ง ผืด นั้น เอง แล น้ำ ใน ทอ้ง นั้น อยู่ บน ลํา ใส้, ๆ นั้น อยู่ ใด้ น้ำ. ครั้น ณวัน ประทัศ เดือน ๗ ขึ้น สิบ ห้า ค่ำ ข้าพเจ้า ได้ แทง ทอ้ง จีน ผู้ นัน, น้ำ ใน ทอ้ง ไหล ออก มา ชั่ง ได้ น้ำ หนัก ๒๐ ชั่ง. อยู่ มา ได้ เจค วัน น้ำ ที่ ขา แล แขน ก๊ ยุบ ลง มาก. แต่ ที่ ทอ้ง นั้น ก็ เกิด ขึ้น อีก. ครั้น ณวัน เดือน เจด แรม ๗ ค่ำ ข้าพเจ้า จึ่ง แทง อีก ครั้ง หนึ่ง, ซั่ง ได้ น้ำ หนัก ๑๘ ซั่ง, แล้ว ซ้าพเจ้า ได้ รักษา ดว้ย ยา มา จน เดื่อน ๘ ขึ้น ค่ำ หนึ่ง, จีน ผู้ นั้น ก็ มา หา ซ้าพเจ้า ใหม่. ข้าพเจ้า เหน อาการ ทุเลา ลง เกืยบ จะ หาย เปน ปรกติ ดี แล้ว. แต่ ที่ ทอ้ง นั้น ยัง มี น้ำ อยู่ บ้าง. จีน นั้น ก็ ออัน วอน ให้ ช้าพเจ้า แทง อีก, ช้าพ เจ้า ยัง หา แทง ไม่. ดว้ย พิจารฌา เหน ว่า ควร จะ รักษา ดว้ย ยา กอ่น. ถ้า มิ ฟัง จึ่ง จะ แทง ไฃ น้ำ ออก เสีย อีก ศัก ครั้ง หนึ่ง, ก็ เหน ว่า จะ หาย โดย แท้ เปน หมั่น คง แล.