// css // javascript

Bangkok Recorder - November, 1844


๏ หนังสือ จดหมาย เหตุ ๚ BANGKOK RECORDER

VOL. 1. เลิ่ม ๑. บังกอก เดือน สิบ เบต ปี มโรง จุลศักราช ๑๒๐๖. NOVEMBER, 1844. คริศศักราซ ๑๘๔๔. ใบ ๕. No. 5.

The atmosphere. No. 3.

ใน หน้งสีอ จด เหตุ ใบ ที่ สาม นั้น, เรา ได้ ว่า ลม อากาษ นิ้ว แล นิ้ว ทัว แผน ดิน หนัก สิบ ชั่ง เท่า กัน กับ ปรอด สูง สาม สิบ เจด นิ้ว. ถ้า จะ เอา ท่อ เลก เลก ทํา ดว้ย แก้ว ยาว ประมาณ ลี่ สิบ นิ้ว ให้ ตัน ข้าง หนึ่ง, แล้ว เอา ปรอด ใส่ ให้ เตม, แล้ว กลับ ปาก ท่อ คว่ำ ลง ใน ขาม, ก็ จะ เหน ว่า ปรอด นั้น ทรุด ลง มา คง อยู่ แต่ สาม สิบ เจด นิ้ว เท่า นั้น, ไม่ ได้ ทรุด ลง มา อี่ก เลย, เพราะ เหตุ ลม อากาษ นั้น ดัน ปรอด ที่ ปาก ท่อ นั้น ไว้ นิ้ว แล นิ้ว หนัก สิบ ซั้ง, เท่า กัน กับ ปรอด ใน ท่อ นั้น. เครื่อง ที่ ทํา ดว้ย แก้ว อย่าง นี้, อังก ฦษ เรียก ซื่อ ว่า บโรเมเตร, แปล ว่า, เครื่อง นี้ เปน ที่ สังเกค ว่า อากาษ หนัก เท่า ไร. เครื่อง อย่าง นี้ เขา ทำ สัน ถาน รูป หลาย อย่าง, แต่ ทว่า ได้ ทํา ตาม วิชา ที่ ว่า มา แล้ว นั้น ทุก อย่าง. สัน ถาน รูป อย่าง หนึ่ง ที่ คน ได้ ใช้ มาก เขา ทํา อย่าง นี้, เขา ทํา ท่อ ดว้ย แก้ว เลก ๆ ยาว ประมาณ สี่ สิบ ห้า สิบ นิ้ว, ให้ ตัน ไว้ ข้าง หนึ่ง, ข่าง ปาก ท่อ ที่ เปิด นั้น ให้ งอ คู้ ขึ้น ลี่ ห้า นิ้ว, แล้ว ใส่ ปรอด ให้ เตม ก็ จะ ทรุต ลง ถึง สาม สิบ เจค นิ้ว เท่า นั้น, แล ปรอด จะ ลัน ออก ข้าง ปาก ท่อ ที่ งอ ขึ้น นั้น นอ่ย หนึ่ง, แล้ว เอา ด้าย ผูก สิง ที่ เบา ๆ ที่ จะ ลอย บน ปรอด ที่ ไม่ จม นั้น อย่อน ลง ไป ใน ท่อ ให้ ของ นั้น ลอย อยู่ บน ปรอด, แล ปลาย ดาย ข้าง หนึ่ง ให้ มี ลูก ทวง ให้ เบา กว่า สิง ที่ ลอย อยู่ บน ปรอด นั้น ผูก ไว้ แล้ว, ให้ พาล ไว้ กับ เฃม เหมือน เฃม นาระกา, แล เครื่อง นี้ จะ เปน ที่ สังเกต จะ รู้ ว่า อากาษ หนัก แล เบา. ถ้า ว่า อากาษ์ เบา กว่า เคย เปน, ปรอด จะ ทรุด ลง ข้าง กัน ท่อ ที่ ตัน นั้น, แล จะ ขึ้น ข้าง ปาก ที่ เปิด นั้น, ลูก ทวง ด้าย นั้น จะ พาล ให้ เฃม ลง. ถ้า อากาษ หนัก กว่า เคย เปน, ปรอด จะ ขื้น ข้าง ท่อ ตัน, จะ ทรุด ลง ข้าง ท่อ เปิด, เฃม ก็ จะ กลับ ขึ้น ตาม หนัก มาก แล นอัย. แล เครื่อง นี้ เขา ได้ ใช้ ใน กําปัน มาก, จะ เปน ที่ สังเกด ว่า ลม อากาษ หนัก แล เบา. ถ้า นาย กําปัน อยุ่ ที่ ใด ใด เหน ว่า เฃม นั้น ลง, ก็ รู้ ว่า อากาษ เบา นัก นาย กําบั่น ก็ รู้ เปน สําคัญ ว่า, จะ บังเกิด พยุห้ แล ลม ฝุ่น อัน ใหญ่ ใน ที่ นั้น.    

แล ที่ เรา ได้ ว่า แต่ กอ่น ว่า, ลม อากาษ นิ้ว แล นิ้ว ทัว ไป หนัก สิบ ชั่ง นั้น, เรว ได้ ว่า เมื่อ อากาษ บริสุทธิปราช จาก หมอก แล เมฆ, แต่ ทว่า ลาง ที่ อากาษ ก็ เบา ลง กว่า สิบ ชั่ง บ้าง, ถึง แปด ชั่ง เก้า ชั่ง บ้าง ใน ที่ แห่ง นั้น, เมื่อ เปน รอ้น หลาย วัน อยู่ ใน ที่ ใด ได, อากาษ ที่ ติด กับ แผน ดิน ก็ เปน รอ้น, เมื่อ รอ้น แล้ว ก็ เบา จะ ลอย ขึ้น, แล อากาษ ที่ แห่งธิ อื่น จะ ไหล เข้า ไป อยู่ ที่ นั้น ให้ เปน หนัก เสมอ กัน, แล อาย น้ำ อาย ดิน เมือ เปน รอ้น ก็ ลอย ขึ้น ใน อากาษ พร้อม กัน กับ อา กาษ ที่ รอ้น นั้น เปน หมอก เปน เมฆ. เมื่อ เปน รอ้น นัก หลาย วัน ใน ที่ อัน ใหญ่, ก็ ให้ อากาษ เปน เบา นัก อยู่ ที่ นัน, แล ลม อากาษ อยู่ ที่ อื่น ก็ จะ ไหล พัด ไป อยู่ ใน ที่ นั้น, จะ บังเกิด ลม มา ทุก ทิศ เปน พยุห์ ใหญ่, เหมือน ที่ เกิด ใน ซะเล ใหญ่ บอ่ย ๆ. เมื่อ นาย กำปั่น เหน ปรอด ใน บโรเมเตร, ก็ วู้ ว่า อากาษ เบา ไป นัก, จะ บังเกิด ลม พยุห์ ใหญ่, ก็ จะ ตอ้ง จัด แจง กํา ปั่น ให้   ดี.     ลีก ประการ หนึ่ง มี ลม พัด มา แต่ ทิศ ข้าง เหนือ หก เดือน, แล้ว ก็ กลัย พัด มา แต่ ทิศ   ข้าง ใต้ หก เดือน, เปน เพราะ   เหตุ ลม พัด ไป ตาม พระอาทิตย์. เมื่อ พระอาทิตย์ ไป ข้าง ใต้, ก็ ให้ อากาษ รอ้น เบา ขึ้น อยู่ ที่ นั้น, อากาษ อยู่ ข้าง หนือ ก็ จะ ไหล ไป อยู่ ที่ นั้น, เปน ลม พัด ไป แต่ ข้าง เหนือ ไป สู่ ทิศ ใต้, ที่ ทิ่ พระอาทิตย์ ตั้ง อยู่ นัน. เมื่อ พระอาทิตย์ ไป ข้าง เหนือ ก็ ให้ อากาษ รอ้น เบา ไป อยู่ ที่   นั้น, อากาษ อยู่ ข้าง ใต้ จะ ไหล ไป อยู่ ที่ นั้น, เปน ลม พัด มา แต่ ข้าง ใต้ เปน สู่ ทิศ ข้าง เหนือ, ที่ พระอาทิต์ ตั้ง อยู่ เหมือน กัน. เพราะ เหตุ ดั่ง นั้น ลม จึ่ง พัด ไป ข้าง เหนือ หก เดือน, พัด ไป ข้าง ไต้ หก เดือน, ตาม พระอาทิตย์ ไป ดั่ง นัน.        

England.

ที่ นี้ จะ ว่า ดว้ย เมือง อังกฤษ. ที่ คน ไท เรียก ว่า เมื่อง อังกฤษ แต่ กอ่น นั้น เปน สาม ประเทษ, มี เจ้า เมือง สาม อ่งค์ ไม่ ขึ้น กัน, ชื่อ สาม ประเทษ นั้น คือ อิงลันดา แห่ง หนึ่ง, อีระลันดา แห่ง หนึ่ง สกด ลันดา แห่ง หนึ่ง. อิงลันดา กับ สกคลันดา อยู่ ใน เกาะ อัน เดียว กัน. เกาะ นั้น วัด โดย ยาว ประมาณ ๕๐ โยชน์, โดย กว้าง ประมาณ ๑๕ โยซน์, เกาะ นั้น เรียก ว่า เกาะ บริตาเนีย ใหญ่. อีระลันดา นัน อยู่ ใน เกาะ แห่ง หนึ่ง, อยู่ ข้าง ทิศ ตวัน ตก แห่ง เกาะ บริตาเนีย นั้น, ไกล กัน ศัก หก โยซน์. เกาะ อีระลันดา นั้น ยาว ประมาณ ๒๔ โยซน์, กว้าง ประมาณ ๑๒ โยซน์ เดี๋ยว นี้ ทั้ง สาม ประเทษ นั้น รวม กัน เปน ประเทษ เดียว, มี กระษัตร องค์ เดียว กัน. กระษัตร นั้น อยู่ ใน เมื่อง ลันดัน เปน ประเทษ อิงลันดา, อยู่ ที่ แม่ น้ำ ซื้อ ว่า เท๊ม ซะ. เมือง ฝรั่ง เศศ ไกล กับ เมือง อังกฤษ์ ศัก สอง โยชน์ ครึ่ง, มี ช่อง ชเล อยู่ กลาง. ถ้า ผู้ ได ปราถนา จะ รู้ ให้ ละ เอียด ก็ ให้ มา ๆ ขอ พงษา วะ ดาน เมือง อังกฤษ, มา ขอ แก่ พวก หมอ ที่ อยู่ หน้า วัด เจ้า คุณ พระคลัง, ที่ ตี หน้งสือ ข่าว นี้.        

Java.

ที่ นี้ จะ ว่า ดว้ย เมือง กะลา ป๋า, ๆ ใน ภาษา อังกฤษ เรียก ว่า บะตา เวีย, เมือง นั้น อยู่ ใน เกาะ แห้ง หนึ่ง เรียก อ่า ยะวา ก็ เรียก, ซะวา ก็ เรียก, อยู่ ข้าง ทิศ ใต้ แห่ง เมือง นิ้, ทาง ไกล ประมาณ ๑๒๕ โยชน์, พัน เมือง ซิงกะโประ ไป ๔๕ โยชน์. เกาะ ยะวา นั้น อยู่ ใน อำนาท โฮ ลันดา, เกระ นั้น ยาว ประมาณา ๖๐ โยชน์, กว้าง ๑๐ โยชน์ มี ดิน อุดม ดี นัก, มี ของ ที่ เจาชาย ไป เมืยง นอก เปน หลาย อย่าง, คือ ข้า แฟ, น้ำตาน ทราย, เข้าสาร, คราม, แล พริกไท เปนตัน. ใน ปี เกาะ นั้น, นับ แต่ เดือน ญี่ ขึ้น สิบ สอง คํ่า นับ ได้ สาม เดือน กับ สิบ วัน, เขา ก็ ขาย ของ ใน เกาะ ยะวา นั้น ไป เมือง นอก ตาม ที่ จะ ว่า เดียว นี้. คือ เข้า แฟ ๒๐๘๑๑๕ หาบ, น้ำตาน ทราย ๒๑๘๓๑๘ หาบ, ตะกั่ว ๑๔๐๘๙ หาบ, เข้า สาร ๑๕๓๗๑๔ ทาบ, คราม ๑๓๖๓ หาบ, พวิกไท ๒๕๗๘ หาบ, จันเทษ ๒๕๐๑ หาบ, อยา แดง ๔๓๘๓ หาบ. อนึ่ง ใน สาม เดือน ๑๐ วัน นั้น เขา ขาย หนัง วัว หนัง ควาย ๓๘๒๘๒ ตัว.

ฃ่าว ต่าง ๆ. Summary.

จะ ว่า ดว้ย นกพิราบ ตัว หนึ่ง, ว่า ใน ปี กลาย นี้ มี กําปั่น ลำ หนึ่ง อยู่ ใน กลาง ชะเล, แล นกพิราบ อยู่ ใน กําปั่น ลำ นั้น, แล นาย กํา ปั่น นั้น จะ ปล่อย นกพิราบ นั้น ดู, ดว้ย จะ ใค่ร รู้ ว่า ถ้า นกพิราบ นี้ เรา ปล่อย ไป แล้ว มัน จะ บิน ไป อาไศรย ที่ ไหน ได้. นาย กําปั่น คิด ดั่ง นั้น แล้ว, เมื่อ จะ ปล่อย นก พิราบ นั้น, ก็ เอา ลูกดุม, ที่ เปน ของ ของ พวก ทหาร, ผูก ไป ใน ท้าวน นกพิราบ นั้น ผูก ดว้ย ลวด ทอง หลือง เล๊ก ๆ, ผูก แล้ว ก็ ปล้อย นกพิราบ ไป. ครั้น ลว่ง ไป ได้ ๑๐ วัน, นกพิราบ ที่ ปล่ยย ไป นัน ก็ บิน ไป จับ อยู่ ที่ กํา ปั่น ลำ อื่น ที่ อยู่ ใน กลาง ซะเล นั้น. กำปั่น ปล่อย ไป กับ กำปั่น ที่ นก บิน ไป จับ อยู่ ไคล กัน, ประมาณ ๒๐๐ โยชน์. มัน บิน ไป ได้ วัน ละ ๒๐ โอซน์.

จะ ว่า ดย้ว คน ติด กัน, ที่ ออก ไป จาก เมือง นี้ นาน แล้ว ประมาณ ๑๐ ปี เศศ. เดี๋ยว นิ้ คน แฝด นั้น เขา อยู่ ใน ประเทษ อเมริกา, อยู่ ใน แห่ง หนึ่ง ซื้อ ว่า เมือง กาโรลินา, หนังสอ ข่าว มา ใหม่ ว่า ปี กลาย นี้ คน แฝด สอง คน คิด กัน นัน, เขา ทำ การ วิวาหะ มง คล แล้ว, กับ ดว้ย หญิง ชาว อเมริกา ๒ คน. หญิง สอง คน นั้น เปน พี่ นอ้ง รว่ม มารดา เดียว กัน.

ประเทษ ยู้ ไน ติษ เทษ คือ เมือง อเมริกา, ใน ปี ฉลู นั้น เขา ได้ ต่อ กํา ปั่น เจด รอ้ย หก สิบ เจด ลำ, ใหญ่ บ้าง เลก บ้าง.

อีก ประการ หนึ่ง, ใน เมือง นั้น เมือ ปี ชวด ทํานา ได้ เข้า สาร ๖๐๖๓๑๐ หาบ, ทำ ฝ้าย ได้ ๕๙๒ ๘๕๔ หาบ, ทำ น้ำตาน ทราย ได้ ๑๑๖ ๓ ๒๔๖ หาบ.

ใน่ เมือง อังกฤษ นัน, เขา จัด แจง ฝาก หนังสือ ต่าง ๆ ไป เมือง อินเดีย เดือน ละ สอง หน , ฝาก ไป เมือง จีน เดือน ละ หน. ถ้า ผู้ ได ปราถนา จะ ฝาก หนังสือ, ก็ ตอ้ง เสีย เงิน แก่ ผู้ ถือ หนังสือ นั้น บัาง.

ข่าว เมือง ซิงกะโประ ว่า, ทูต เมือง ฝรั่ง เศศ นั้น, ซึ่ง จะ ไป เมือง จีน, เขา แล่น กําปั่น ไป จาก เมือง ซิงกะโป นั้น เมือ เดือน แปด ทุติยา สาท ขึ้น ลอง ค่ำ.

Circulation of the Blood. No. 1.

แผน ที่ นั้น สําแคง หวัวใจ มนุษ, เปน สอง หอ้ง, อยู่ ทว้าย ขวา หอ้ง หนึ่ง. ตัว, ก, นั้น นอก เส้น โลหิต ใหญ่ ศี แดง, ที่ ออก จาก หวัวใจ, ไหล ทราบ ซ่าน แยก ไป ทั่ว กาย. ตัว, ข, บอก เส้น โลนิต ดํา, ไหล ลง จาก ศีศะ, แล ฅอ, แล แฃน, แล อก, เข้า สุ่ ชาน, แล้ว ไหล ลง สู่ หอ้ง หวัวใจ หอ้ง ขวา. ตัว, ค, ค, บอก เส้น โลหิต ดำ, ที่ ไหล ออก จาก หวัวใจ หอ้ง ขวา, ไหล ไป ถึง ปอด ทั้ง ทร้าย, ถูก ลม ทายใจ. ตัว, ฅ, ฅ, บอก ชาน หอ้ง ข้าง ขวา, โลหิต ดำ ไหล ลง ที่ ชาน นั้น กอ่น, แล้ว จึง ไหล ลง สู่ หอ้ง หวัวใจ ข้าง ขวา นั้น. ชาน นั้น เปน ที่ ประชุม โลหิต ดำ ไหล มา รวม กัน. ตัว, ฆ, บอก ช่อง ที่ โลหิค ดํา ไหล ออก จาก หอัง ข้าง ขวา, ไป จน ถึง ปอด ทั้ง หว้าย ขวา, ถูก ลม หาย ใจ. ตัว, ง, บอก เส้น โลหิต ดํา ๓ เส้น, ไหล

/publications/bangkok_recorder_1844_1845/019.c.jpg

ขึ้น จาก ตับ, เข้า สู่ ชาน หอ้ง ขวา, รวม กัน แล้ว, ไหล ลง สุ่ หอ้ง ขวา. ตัว, จ, บอก เส้น โลหิต คำ ใหญ่, ที่ ขึ้น มา แต่ ท้าว ขา. แล มา จาก หอ้ง เข้า สุ่ ชาน, แล้ว ไหล ลง สู่ หอ้ง ขวา. ตัว, ฉ, บอก หอ้ง ข้าง ทร้าย สำหรับ โลหิต แดง. ตัว, ช, บอก เส้น โลหิต เลก ๆ, ไหล ออก จาก หอ้ง ข้าง ทว้าย, ไป เลี้ยง หวัวใจ หุ้ม อยู่ ข้าง นอก. ตัว, ซ, ซ, ซ, บอก เส้น ๓ เส้น, ที่ โลหิต แดง, เมื่อ ถูก ลม หายใจ แล้ว ไหล ออก สู่ ปอด ทั้ง ๒ ข้าง, เข้า รวม กัน ที่ ชาน สำหรับ หอ้ง ข้าง ทว้าย, แล้ว ไหล ลง สู่ หอัง ทร้าย. ตัว, ณ, บอก ชาน ข้าง ทร้าย. ตัว, ญ, บอก เล้น โลหิต แดง ออก จาก เส้น โลหิต ใหญ่, แล้น ขึ้น ไป ตาม เกลียว ฅอ ข้าง ทว้าย จน ศีศะ. ตัว, ด, บอก เส้น โลหิต แดง ออก จาก เส้น โลหิต ใหญ่, ไหล แล่น ออก จาก แขน ทร้าย. ตัว, ต, บอก เส้น โลหิต แดง ออก จาก เล้น ใหญ่, ไหล แยก ไป ตาม เกลียว ฅอ, แล้ว ก็ ไป แขน ขัาง ขวา.

อัน ลูก ธนู นั้น ชี้ ไป ตรง ไหน, ก็ เปน ที่ ให้ รู่ ว่า โลหิต ใน เส้น นั้น, ไหล ไป ตรง นัน.

ถ้า จะ ใค่ร รู้ ให้ ประจัก, ก็ ให้ เอา หวัวใจ คน ตาย มา ตัด เส้น ทั้ง ป่วง นี้ ออก, เหล้อ เศศ ไว้ ยาว ๆ, แต่ เส้น ปอค นั้น อย่า ตัด เลย. แล้ว ผูก ที่ ปาก แผล เสีย ทุก เส้น, เว้น แต่ เส้น ใหญ่ ที่ มี ชาน ลง ไป หอ้ง ขวา. แล้ว เอา ขี้ ผึ้ง หลอม ให้ ละลาย, ใส่ ศี แดง ลง, แล้ว จึ่ง เอา เครื่อง สวน ฉีด เข้า ตาม ช่อง ชาน ข้าง ขวา. ขี้ผึ้ง นั้น จะ ไหล ไป เข้า หล้ง ขวา, แล้ว ออก จาก หอ้ง ขวา เข้า ไป สุ่ ปอด, แล้ว กลับ มา จาก ปอด ตาม เส้น ๓ เส้น นั้น มา ถึง ชาน ข้าง ทร้าย, ไหล ลง สู่ หอ้ง ข้าง ทร้าย. แล้ว ก็ ออก จาก หอ้ง ทร้าย โดย เส้น โลหิต ใหญ่ ศี แดง, แยก ไป ตาม เสั้น ที่ แยก ไป หั้ว กาย มี เส้น นั้น. งด ไว้ ถอ ขี้ผึ้ง แขง, ก็ จะ เหน สนัด ขัด แท้.

อย่าง หนึ่ง อย่า ตัด เอา แต่ หวัวใจ มา เลย, ให้ ติด อยู่ กับ คน ตาย. แล้ว เอา ขี้ผึ้ง หลอม, ฉีด เข้า ไป โดย ช่อง หอ้ง ข้าง ขวา. ขี้ผึ้ง นั้น ก็ จะ แล่น ไป ตาม สาย เล้น เช่น ว่า นั้น, ตลอด ไป จน ขา แล แขน ฅอ แล ศีศะ. แล้ว จึ่ง เอา มีด เชือด ตัด ลง ดู ที่ แค่ง ขา, ก็ จะ เหน ขี้ผึ้ง ถึง นั้น, ก็ จะ รู้ แน่. เมื่อ มนุษ ยัง มี ชีวิต รย อยู่ นั้น, ใน หวัวใจ, แล เส้น โลหิต ทั่ว ทั้ง กาย ไม่ มี ลม เลย ศักหนึด หนึ่ง. ถ้า ลม เข้า ถึง หวัวใจ ศักหนึ่ง, คน ก็ จะ ตาย. ถ้า ผู้โด สงไสย ไม่ เชื่อ, ก็ ให้ จับ สัตว มา ตัด เส้น โลหิต เส้น หนึ่ง, ชัก ออก มา ให้ ยาว, แล้ว เอา เครื่อง มีค, ฉีด สม เข้า ไป ตาม เส้น นั้น, บัด เดี๋ยว สัตว นั้น ก็ จะ ตาย. ถ้า คน ตาย แล้ว, ไม่ มี โลหิต ใน เส้น นั้น, ก็ เกิด ลม ขึ้น อง, ใน เส้น นัน บ้าง เลก นอ้ย. แต่ เมื่อ เปน อยู่, ก็ ไม่ มี ลม เลย.

Treatment of Incised Wounds.

บัด นี้ จะ พรรณา ดว้ย วิที รักษา บาด แผล สด อย่าง หนึ่ง, คือ แผล ที่ บาด ดว้ย อาวุธ, มี มีด แล ขวาน เปน ต้น. เนื้อ หนัง เอน เล็น โลหิต มิ ได้ ฟก ช้ำ, แล ขาด เปน ปรกติ ดว้ย สัตราวุธ อัน คม. ถ้า ขาค เปน บาด แผล ดว้ย ถูก อาวุธ คม แล้ว, แล ที่ ถูก นั้น ก็ มี พิศม์ อัน นอ้ย, ก็ รักษา ให้ ติด สนิด เรว ก็ ได้, ไม ตอ้ง ให้ ยืด ยาว ไป นัก. แต่ ตัว เรา ได้ พิจรนา เหน คน ใน เมือง นี้, แล รักษา บาค แผล เช่น นี้ ทำ ผิด นัก, เขา เอา ลําลี, ชุบ น้ำมัน ยัด ปิด ปาก แผล ที่ เปิด อ่า อยู่ นั้น, คว้ย ปราถนา จะ ให้ โลหิต นั้น, อยุด หาย. บาง ที่ ก็ ปิด อยู่ สอง วัน สาม วัน, แผล นั้น ก็ เกิด เปน พิศม์ บวม, แล เปน หนอง มาก. อย่าง นี้ ก็ ไม่ สมควร. ถ้า ได้ รักษา ตาม วิที อเมริกา ที่ จะ สำแดง ที่ นิ่, จะ ไม่ เกิด พิศม์ จะ ดี สนิด เรว, คว้ย เหตุ ว่า วิที ที่ เรา รักษา, ถ้า แผล สด ถูก มีด พร้า เปน ต้น, ตัด เอน เส้น โลติต ขาด ออก ไป, ปาก แผล คราก อ้า โต ก็ คี, เลก ก็ ดี, ก็ ให้ รักษา เรว ๆ, อย่า นิ่ง ทิ้ง ไว้ ให้ ข้า ได้. ให้ พี จรนา ดู บาดแผล ที่ ถูก นั้น, ถ้า เหน ว่า บาดแผล นั้น มี สิ่ง ใด สิ่ง หนึ่ง, มี ดินเปน ต้น, ติด อยู่ ใน บาดแผล นั้น บ้าง, ถ้า เหน ว่า มี ติด อยู่แล้ว, ก็ ให้ เอา น้ำ ชำระ ล้าง เสีย ให้ หมด, อย่า ให้ ติด คาง อยู่ ได้. แล้ว ให้ พิจารนาดู โลหิต, ถ้า โลหิต นั้น ไหล ออก จาก เส้น ใหญ่ ไหล เรว ชีด ๆ พร้อม กับ เทพจร, ก็ ให้ ผูกเส็น นั้น เสีย. ถ้า แลเลืยด มิ ได้ ไหล จาก เส้น ใหญ่, ไหล ออก จาก เล้น เลก ๆ แล้ว, ก็ ไม้ ตอ้ง ผูก ที่ ตอ้ง ผูก เส้น โลหิต อย่าง ว่า มา นี้, รอ้ย คน จะ มิ แต่ ศัก คน หนึ่ง คน เดียว. ครั้น ชำระ แผล ด ว้ย น้ำ แล้ว, ก็ ชัก แผล ที่ ห่าง นั้น ให้ ชิด กัน เข้า, แล้ว ก็ นิ่ง อยู่ ศัก ครู หนึ่ง, ให้ โลหิค แห้ง, แล้ว โลหิต ข้าง ใน ก็ จะ แห้งแขง ไป. ถ้า เหนโลหิต อยุด ไหล แต่น อ้ย, ก็ ให้ เอา ผ้า ที่ ทา อยาเหนียว, ที่ ว่า ใว จดหมาย เหตุ ที่ หนึ่ง นั้น, มา หุ้ม รัด แผล นั้น ไว้, ไม่ ให้ แมล นั้น แยก ออก ได้. แต่ว่า อย่า ให้ ผ้า นั้น ปิด แผล เสีย หมด, ให้ ไว้ ของ รู น้ำ เหลือง เดิน ศักเลกนอ้ย. ถ้า แลปิด เสีย หมด แล้ว, นัก เหลือง นั้น ก็ จะ กัด กระทํา ผิด เมื่อ ภาย หลัง. แล้ว จึ่ง เอา สําลิบิด หับ บาดแผล บาง ๆ แล้ว, จึ่ง เอา ผัา ขาวพันท์ รัดทับ สําลิ นั้น ลง. รัด ให้ แน่น ให้ อยู่ดี อย่า ให้ ตึง นัก. แล้ว อย่า แก่ อย่า ให้ เปิด, ทิ้ง ไว้ ศักสาม วัน สี วัน, แล้ว โลหิต แผล นั้น ก็ จะ แห้ง. เหนี่ยว แผล นั้น ไว้, แล้ว เส้น โลหิต ที่ ขาคนั้น ก็ จะ กลับ ติด กัน เข้า ดัง เก่า. ใน ลาม วัน สี่ วัน นั้น, ถ้า สําลิ, ที่ ปีดแผล นั้น, แห้งแขง นัก ไม่ สบาย, ก็ ให้ เอา เล่า ส่วน หนึ่ง, น้ำ ท่า ส่วน หนึ่ง, ชูบ ซึ่ง สําลิ ที่ แขง นั้น จึง สบาย. กำ หนด สาม วัน สี วัน แล้ว, ก็ ให้ เปิด แผล นั้น ดู. เอา น้ำ อุ่น ๆ ใส่ ซ่า บู่ ชุบ ผ้า ที่ รัด แผล นั้น, ให้ ออ่น ๆ แล้ว จึ่ง แก้. ถ้า ไม่ ทํา อย่าง นั้น แผล นั้น ก็ จะ แยก อลก ไป. แล้ว ก็ คอ่ย แก้ ให้ เบา ๆ, อย่า ให้ หนักมือ ได้, ดวัย โลหิต นั้น มัน จะ ไหล ออก, ดว้ย แผล นั้น ยัง สด ยัง ใหม่ อยู่. แก้ ออก แล้ว, ก็ ให้, เอา น้ำ ซ่าบู่ชำระ ล้าง แต่ เบา ๆ ชำ ระหนอง เก่า ที่ ติดค้าง อยู่ ให้ ออก หมด, แล้ว ก็ ให้ เอา น้ำณะจุล ศรีอ อ่น ๆ ณะ ลง ที่ แผล นั้น. แล้ว ก็ เอา ขี้ ผึ้ง เหนียว ที่ ว่า มา แล้ว ผูก ใหม่, ตั้งแต่ เวลา นี้ ไป, ก็ ให้ เปิด ณะล้าง ไป ทุก วัน ๆ, อย่า ให้ ขาด ได้ดว้ย น้ำ ณะ อย่าง ว่า มา แล้ว นี้.

ถึง ไม่ มี เหนี่ยว แผล อย่าง ว่า มา นี้, เอา แต่ ขี้ผึ้งแขง กับ น้ำ มัน พร้าวเคี้ยว ประสม กัน ให้ เหลว ๆ, ทา ผ้า เลก ๆ, ปิด แผมล นั้น, แล้ว ก็ เอา ผ้า ยาว ๆ พันท์ ทับ รัด แผล นั้น ไว้ ก็ ได้.     ถ้า ว่า บาด แผล ใหญ่ กว้าง เปน ที่ เส้น จะ ชัก ให้ แยก ให้ คราก ดว้ย จะ เยียด แล คู้ ซึ่ง แขน แล ขา, ก็ ห้าม เสีย ไม่ ให้ เยียด แล คู้ ซึ่ง แขน แล ขา, ให้ นิง เปน ปรกติ อยู่, ดว้ย กลับ กลัว ว่า บาด แผล นั้น จะ แยก แตก ออก ไป, ไม่ ติด กัน ได้.     ถ้า แล บาด แผล นั้น ยาว กว้าง นัก, ผ้า เหนียว นั้น เหนี่ยว ไม่ ใค่ร จะ อยู่, ก็ ให้ เยบ บาด แผล ดว้ย เขม เยบ ผ้า ก็ ได้, เอา ไหม ผูก ไว้ ซึ่ง หนัง เปลาะ หนึ่ง สอง เปลาะ สมควร แก่ บาด แผล นัน. เมื่อ เยบ นั้น, อย่า เยบ ให้ บาด แผล เบี้ยว คด ไป ได้, ให้ ตรง เปน ปรกติ อยู่ ยัง เดิม. แล้ว ก็ เอา อยา เหนืยว ติด ไว้ ที่ หลัง. แล้ว ก็ เอา ผ้า รัด ไว้ ดว้ย, ๆ จะ ช่วย กัน ไม่ ให้ บาด แผล นั้น แยก แตก ออก ไป ได้.


ราคา สินค้า เมือง ใหม่, คิด เหรียน หนึ่ง เปน เงิน ไท หก สลึง เพื้อง สอง หุน.

Price Current. บาท เฟื้อง บาท เฟื้อง
ขี้ผึ้ง หาบ ละ ๕๐ ๕๓
กำญาน อย่าง กลาง หาบ ละ ๕๘ ๖๑
หมาก แห้ง หาบ ละ
เข้า แฟ มา แต่ ยะกะตรา หาบ ละ ๑๔
ฝ้าย ดี ห่อ หนัก สอง หาบ ยี่ สิบ สี่ ชั่ง ห่อ ละ ๒๕ ๒๖
งา ช้าง ใหญ่ หาบ ละ ๑๖๗ ๑๘๓
งา ช้าง เลก หาบ ละ ๑๐๐ ๑๓๓
น้ำมัน มะพร้าว ไท หาบ ละ ๑๐
พริก ไท หาบ ละ
น้ำตาน ซาย เมือง ไท หาบ ละ
เกลือ เมือง ไท เกี่ยน ละ ๓๖
ครั่ง เมือง ไท หาบ ละ ๑๑
รง หาบ ละ ๑๑๗

หนังสือ ฃ่าว นี้ ตีภิม หน้า วัด เจ้าคุณ พระคลัง, ที่ บ้าน พวก ครู อเมริกา อาไศรย. ตี เดือน ละ แผ่น, คือ ปี หนึ่ง สิบ สอง แผ่น. ราคา, ถ้า ซื้อ เปน ปี, ก็ เปน บาท หนึ่ง. ถ้า ซื้อ เปน แผ่น, ก็ เปน แผ่น ละ เฟื้อง.

The Recorder is published on the first Thursday of every month, at the press of the mission of the A. B. C. F. M. in Siam. Price, one tical, or sixty cents, a year.